วิวัฒนาการของสามเกลอ |
ที่มา |
หนังสือ "อนุสรณ์ 20 ปีแห่งการจากไปของ ป. อินทรปาลิต |
(รัฐบุรษเฮฮา) | |
โดย |
เริงไชย พุทธาโร |
ได้รับอนุญาตให้ตีพิมพ์บน Internet เพื่อการศึกษา |
|
พิมพ์โดย |
Webmaster สมาชิกหมายเลข 00001 |
กลางปีพุทธศักราช 2481 ป. อินทรปาลิต ได้ประพันธ์หัสนิยายตลกเบาสมองเรื่อง "อายผู้หญิง
บทบาทของ พล พัชราภรณ์
พฤติกรรมของ พล นิกร กิมหงวนกับคณะ นอกจากจะมุ่งเน้นในการสร้างความบันเทิงเริงรมย์ให้ผู้อ่านแล้ว ในระหว่างตัวอักษรแต่ละบรรทัด ยังได้สอดแทรกแนวความคิด ความเชื่อ และความรู้ต่างๆ ของผู้ประพันธ์ลงไปด้วย ยิ่งไปกว่านั้นบรรยากาศ หรือฉากในการดำเนินเรื่องจำนวนมาก ป. อินทรปาลิต ได้หยิบฉวยเอามาจากความเคลื่อนไหวต่างๆ ของสังคมรอบตัว ทั้งเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นภายในและต่างประเทศ ทั้งจากเรื่องราว ในภาพยนตร์ นวนิยาย และข่าวสารต่างๆ โดยผู้ประพันธ์ได้นฤมิตให้ตัวละครเอกของชุดสามเกลอ เข้าไปมีบทบาทอยู่ในเรื่องราว และเหตุการณ์เหล่านั้น ทำให้หัสนิยายชุดนี้มีลักษณะเหมือนกับ เป็นการบันทึกประวัติศาสตร์สังคมในรูปแบบ ที่สร้างความขบขันหรรษา ให้กับผู้อ่านไปโดยมิได้รู้ตัวเลยว่า กำลังได้อ่านบันทึกแห่งวิวัฒนาการของสังคมไทย และสังคมโลกไปพร้อมๆ กัน
สามเกลอพล นิกร กิมหงวน ปรากฎสู่สายตาของผู้อ่าน มาตั้งแต่ยุคที่ตัวละครยังนุ่งผ้าม่วง สวมเสื้อราชปะแตน กลัดกระดุมห้าเม็ด จนกระทั่งใส่ชุดสากล สวมหมวกตามสมัยรัฐนิยม และพัฒนารูปแบบเครื่องแต่งกายตามกระแสสังคม เรื่อยมาจนกระทั่งปลายปี พ.ศ
ปลายปีพุทธศักราช 2482 พลตรี หลวง พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีต้องการจะสร้างชาติ ให้เจริญก้าวหน้าตามแนวคิดของตน จึงประกาศใช้ "รัฐนิยม
ป. อินทรปาลิต เขียนเรื่อง "รัฐนิยม
เมื่อทุกคนยอมปฏิบัติตามข้อบังคับที่เจ้าคุณปัจจนึกฯ กำหนดขึ้นแล้ว ชาวคณะสามเกลอก็พยายามทำตามเงื่อนไขเหล่านั้น แต่เนื่องจากหลายๆ คน ยังมีข้าวของที่เป็นสินค้าต่างชาติหลงเหลือกันอยู่บ้าง ที่เพิ่งไปซื้อมาใช้ใหม่ตามความเคยชินก็มีบ้าง ทำให้เจ้าคุณปัจจนึกฯ ต้องคอยติดตามสอดส่องสังเกตสมาชิกอยู่เสมอ จึงเกิดเรื่องอลเวงอลหม่านกันอุตลุด
"สามเกลอเลี้ยงไก่
อาเสี่ยหัวเราะ เจ้าคุณหันมาถามพล นิกร
ประเทศไทยได้เสียดินแดนให้ชาวต่างชาติหลายครั้ง โดยเฉพาะในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ไทยเสียดินแดนให้กับอังกฤษกับฝรั่งเศสไปเป็นจำนวนมาก ในปีพ
พลตรี หลวงพิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีขอมติสนับสนุน การเรียกร้องดินแดนในอินโดจีนกลับคืน ยุวชนทหารและยุวนารีจึงร่วมกันเดินขบวน ไปกล่าวคำปฏิญาณต่อพระแก้วมรกต และร่วมชุมนุมกันที่หน้ากระทรวงกลาโหม ในวันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ
ป. อินทรปาลิตได้ประพันธ์ให้สามเกลอพล นิกร กิมหงวน เข้าร่วมในการเดินขบวนครั้งนี้ด้วย ในเรื่อง "เลือดไทย
เหตุการณ์ด้านชายแดนอินโดจีนเข้าขั้นวิกฤติ เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ
ป. อินทรปาลิต จึงส่งสามเกลอกับคณะ เข้าไปร่วมสู้รบในสงครามอินโดจีนในเรื่อง "นักบินจำเป็น
ชุด "สงครามอินโดจีน
"...ไม่ต้องไปอ่านหนังสือพิมพ์ ไม่ต้องไปฟังวิทยุครับ อ่านพล นิกร กิมหงวนนี่ รายงานหมดทุกอย่าง
ต่อมาประเทศไทยได้เข้าร่วมในสถานการณ์สงครามโลกครั้งที่ 2 โดยพันธมิตรกับญี่ปุ่น ประกาศสงครามกับ บริเตนใหญ่และสหรัฐอเมริกา ตั้งแต่เที่ยงวันที่ 25 มกราคม พ.ศ
เรื่องราวและเหตุการณ์ที่อุบัติขึ้นในสังคม ไม่ว่าจะใหญ่โตหรือเล็กน้อยเพียงใดก็ตามได้ถูก ป. อินทรปาลิต บันทึกไว้เป็นฉากในหัสนิยายชุดสามเกลอพล นิกร กิมหงวน อย่างมากมายเหลือคณานับ ม.ร
"ป. อินทรปาลิต ได้สร้างตัวละครสามเกลอพล นิกร กิมหงวนขึ้น โดยเอาเหตุการณ์ประจำวัน ในแวดวงของบ้านเมือง มาเขียนเป็นนิยายชุดสามเกลอ เป็นเรื่องดีๆ ทั้งนั้นแหละครับ ป. อินทรปาลิต นอกจากจะเขียนนวนิยายตลกโปกฮาแล้ว ยังเป็นนักบันทึกประวัติศาสตร์คนสำคัญ เลยทีเดียว
"ฉันได้ข่าวว่าเมียของแก กำลังกระทำตัวให้ถูกต้องตามระบอบรัฐนิยมไม่ใช่หรือ
"ครับ
"นั่นแหละ แกน่าจะชมเมียๆ ของแกที่รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
นายพัชราภรณ์ทำหน้าเหม็นเบื่อ
"จะทำได้สักกี่วันครับ เห่อกันไปงั้นเอง เห็นเขาทำสวนครัว ก็ทำบ้าง นี่กำลังดำริจะเลี้ยงไก่กันอีกครับ ไม่เป็นทำอะไรแล้ว วันยังค่ำ ยุ่งกับเรื่องสวนครัว
All contents in this web site are intended for private use and educational purpose only. Our main objectives are to promote SamGler to cyberspace sufers and to memorize Por Intalapalit, one of the greatest writers in Thai fiction history.